โทษของความอิจฉาริษยา
ฉันได้ทำบาปกรรมเอาไว้ จึงไปสู่เปตโลก ฉันอนุโมทนาทานที่ท่านให้แล้ว จึงไม่มีภัยแต่ที่ไหน ขอท่านพร้อมด้วยญาติทุกคน จงมีอายุยืนนานเถิด ขอท่านจงประพฤติธรรมและให้ทานในโลกนี้ แล้วจะเข้าถึงฐานะอันไม่เศร้าโศก เมื่อท่านกำจัดมลทินคือความตระหนี่พร้อมด้วยรากแล้ว ใครๆ ก็ติเตียนท่านไม่ได้ จักเข้าถึงโลกสวรรค์
โลสกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของความอิจฉาริษยา
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล ณ ชนบทแคว้นโกศลมีหมู่บ้านชาวประมงประมาณ 1,000 ครอบครัว อาศัยอยู่ด้วยความผาสุกตลอดมา ครั้นต่อมาหญิงคนหนึ่งในหมู่บ้านได้ตั้งครรภ์ นับตั้งแต่นั้นมาทุกครอบครัวต่างก็ทำมาหากินฝืดเคืองลำบากมากขึ้นตามลำดับ
วิธีการปลูกฝังมุทิตาจิตจะทำให้เกิดขึ้นได้อย่างไร
การปลูกฝังมุทิตาจิตไว้มากๆ จะช่วยกำจัดความอิจฉาริษยาลงได้ ถ้าเห็นใครได้ดีกว่าเรา ให้รีบนึกถึงบุญเลยว่า เขาคงทำบุญมาดีกว่าเรา เขาถึงได้ตำแหน่ง ยศถาบรรดาศักดิ์ไป ให้รีบยินดีกับเขา
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๖ ( ลี้ภัยการเมือง )
วันหนึ่ง เสนกะได้แอบปรึกษาหารือกับปุกกุสะ กามินทะ และเทวินทะ ว่าทำอย่างไรจึงจะกำจัดมโหสถได้ มิเช่นนั้นพวกตน ก็จะเหมือนวัวแก่ที่ไม่มีค่าแก่การเทียมเกวียน เสนกะได้ออกอุบายด้วยการแอบไปลักขโมยพระจุฬามณีของพระราชา ให้ท่านปุกกุสะไปขโมยสุวรรณมาลา...
ผู้ที่อิจฉาริษยาผู้อื่นมักจะได้เกิดในตระกูลต่ำจริงหรือ
คนที่มีนิสัยขี้อิจฉา แสดงว่าบุญน้อยแล้วยังไม่สำนึก ไม่มีอำนาจวาสนาแล้วยังไม่พอ เกิดกี่ชาติๆ ก็ไม่มีทางเจริญรุ่งเรืองได้ ความอิจฉาริษยานี้ จะตัดทอนกำลังที่จะนำไปสร้างบุญต่อได้มาก
เปรตกินลูกตัวเอง และ เรื่องเล่าเปรตแม่น้ำโขง
เปรตชนิดนี้ตั้งครรภ์ได้ด้วยวิบากกรรมพออกลูกมาก็จับลูกกินเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะวิบากกรรมเอายาพิษให้ภรรยาน้อยกินด้วยความอิจฉาริษยาจนภรรยาน้อยแท้งลูก
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - จิตที่ไม่หวั่นไหว
พระโพธิสัตว์จึงบอกกับน้องว่า “น้องเอ๋ย ธรรมในหมู่มนุษย์นี้ คือ ลาภ เสื่อมลาภ ยศ เสื่อมยศ นินทา สรรเสริญ สุขและทุกข์ ทั้งหมดนี้เป็นของไม่เที่ยง มีแล้วก็ต้องเปลี่ยนแปลง เป็นเรื่องธรรมดาของโลก เจ้าอย่าได้เสียใจไปเลย” แต่ลิงน้องชาย แม้จะได้ฟังอย่างนั้น ก็ยังไม่สามารถลดความอิจฉาริษยา ในลาภสักการะของลิงกาฬพาหุได้ จึงพูดกับพี่ชายว่า “พี่ราธะ พี่เป็นบัณฑิต ย่อมรู้ถึงประโยชน์ แม้ที่ยังมาไม่ถึง ทำอย่างไรหนอ เราจะได้เห็นเจ้าลิงดำตัวนั้น ถูกขับไล่ออกไปจากราชสกุล”
พิธีมุทิตาสักการะพระภิกษุ-สามเณร ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรมและบาลีศึกษา ประจําปีพุทธศักราช 2567
ขอเชิญร่วมพิธีมุทิตาสักการะพระภิกษุ-สามเณร ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรมและบาลีศึกษา วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ประจําปีพุทธศักราช 2567
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ประจําปีพุทธศักราช พ.ศ. 2567 ณ วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน เวลา 13.30 น.