การอุทิศส่วนกุศล
วันนี้มีคำถามจากคุณโยมท่านหนึ่งมาว่า กระผมอยากถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ หากเขาไปเกิดเป็นคนในอีกภพหนึ่งแล้วเนี่ย เรายังกรวดน้ำโดยที่จิตมุ่งให้เขาอยู่เขาจะได้รับหรือไม่ครับ
อานิสงส์อนุโมทนาบุญ
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ มหาอุบาสิกาวิสาขา สหายของดิฉันอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้สร้างมหาวิหารถวายสงฆ์ ดิฉันเห็นมหาวิหารและการบริจาคทรัพย์อุทิศสงฆ์ ได้บังเกิดความเลื่อมใสในบุญนั้น จึงอนุโมทนาบุญด้วยใจที่เปี่ยมด้วยศรัทธาและมหาปีติ ดิฉันได้วิมานที่อัศจรรย์น่าทัศนา ก็เพราะการอนุโมทนาบุญอันบริสุทธิ์ในครั้งนั้น
ความรู้เกี่ยวกับการทำทาน
การทำบุญกับการทำทานเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ? อานิสงส์ในการทำบุญทำทานเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ? การทำบุญทำทานกับพระภิกษุ มนุษย์ และสัตว์ ได้อานิสงส์ต่างกันไหม ?
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) องค์ที่ 8
ในการหล่อรูปเหมือนหลวงปู่ การหล่อรูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญไม่ใช่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นง่าย ๆ ดังนั้นสาธุชนผู้มีบุญทุกท่านไม่ควรพลาดโอกาสในการสั่งสมบุญนี้เพราะการหล่อ รูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นท่ามกลางเหตุแห่งความยากดังต่อไปนี้ คือ.....
ปีติจากใจไม่ใช่อุปทานหมู่
คำถาม : มีกัลยาณมิตรชักชวนให้นุ่งขาวห่มขาว เข้าร่วมสมาทานศีล ๘ ปฏิบัติธรรมบ่อยครั้ง ทำให้มีโอกาสได้ศึกษาความหมายในสิ่งที่กล่าวท่องออกไปได้ปฏิบัติธรรมจึงเกิดความปีติอย่างบอกไม่ถูก พระอาจารย์คะสิ่งที่เกิดขึ้นนี้เขารียกว่าอุปทานหมู่จากคนข้างเคียงหรือเปล่าคะ?
ปัตติทานมัย : เอาบุญมาฝากนะครับ/คะ
กินเจ 2557 ความรู้เกี่ยวกับเทศกาลกินเจ
กินเจ 2557 เทศกาลกินเจมีความเป็นมาอย่างไร อาหารเจมีอะไรบ้าง กินเจได้บุญจริงหรือไม่ ถ้าไม่กินเเจ กินเนื้อสัตว์ แต่ไม่ได้ฆ่าเองจะบาปไหม
เปรตหญิงสาวผู้หิวโหย
ในเปรตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม การเลี้ยงโคในเปรตวิสัยก็ไม่มี การค้าขายหรือการซื้อขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงกาลล่วงสิ้นไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปในเปรตวิสัยนั้น ด้วยทานอันเขาให้แล้วในมนุษยโลก
บุญไม่มีขายอยากได้ต้องทำเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสพระคาถาว่า “ปุญฺญญฺ เจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย” แปลความว่า ถ้าบุรุษพึงทำบุญไซร้, พึงทำบุญนั้นบ่อยๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น, เพราะว่าความสั่งสมบุญทำให้เกิดสุข.