พระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย...ก้าวไกลสู่เวทีโลก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ สืบทอดผ่านการสวดทรงจำโดยเหล่าพุทธสาวก และจารจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกลงในคัมภีร์ใบลาน เมื่อครั้งกระทำสังคายนา ครั้งที่ 5 ราว ๆ ปี พ.ศ. 400 เศษ ณ อาโลกเลณสถาน ประเทศศรีลังกา
คัมภีร์แห่งกษัตริย์...สมบัติแห่งแผ่นดิน
คัมภีร์ใบลานที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง รวมถึงคัมภีร์ที่พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางชั้นผู้ใหญ่สร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับหลวง หรือฉบับของหลวง ส่วนคัมภีร์ใบลานที่พระภิกษุสงฆ์หรือราษฎรสร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับราษฎร์ หรือ ฉบับเชลยศักดิ์
โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายได้จัดตั้งโครงการพระไตรปิฎกขึ้นในปี พ.ศ.2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ รักษา รวบรวม ถ่ายภาพคัมภีร์ใบลาน และจัดทำฐานข้อมูลพระไตรปิฎก เพื่อการศึกษาค้นคว้า สำหรับผู้สนใจทั่วไป ทั้งรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์และดิจิทัล
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ให้การต้อนรับ หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยโอตานิ เเละคณะ
พระมหาสุธรรม สุรตโน ป.ธ.9, ดร. ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ให้การต้อนรับ หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยโอตานิ ประเทศญี่ปุ่น เเละคณะ
รอยลบ ที่ไม่ลบเลือน
การจะได้ใบลานที่จารได้สวยงามนั้น ผู้จารต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด หรือมีการแก้ไขให้น้อยที่สุด....
ผ้าห่อถักทอเชื่อมสายบุญ
ผ้าห่อคัมภีร์มีประเภทที่ทอด้วยเส้นฝ้ายหรือไหมล้วนและแบบที่มีไม้ไผ่สอดสลับ...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...