แด่โยมแม่ด้วยดวงใจแห่งชัยชนะ
การบวชทำให้กระผมได้เรียนรู้อะไรมากมายอย่างที่กระผมไม่คาดคิด ได้เข้าใจเรื่องบุญบาปและกฎแห่งกรรม อีกทั้งที่สำคัญได้ฝึกนั่งสมาธิ
วิธีชนะคนพาล
สำนวนว่า “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” หรือ “ลูกชาย สิบปีล้างแค้นไม่สาย” เหล่านี้ล้วนเป็นบ่อเกิดแห่งการทะเลาะวิวาท อาฆาตจองเวรกันไม่จบสิ้น
ผู้ชนะที่แท้จริง
จงอย่าเสียใจ ในยามเสียทีแก่คนพาล และอย่าดีใจหากชนะใครด้วยความชั่ว เพราะนั่นมิใช่ความชนะ หรือความแพ้ที่แท้จริง
ชีวิตสมณะ...ชีวิตของผู้ชนะ
การสร้างบารมีในเพศสมณะ ต้องมุ่งมั่นตั้งใจสั่งสมบุญสร้างบารมีให้เต็มที่เต็มกำลัง อย่าเผลอใจไปมัวหลงกับสิ่งเย้ายวนตามกระแสของกิเลส
ชัยชนะในโค้งสุดท้าย
การทำหน้าที่ชวนบวชอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อนของเหล่ายอดกัลยาณมิตร เพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนาและศีลธรรม
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๒ ชนะพกาพรหม)
การปฏิบัติธรรมที่จะให้ได้ผลดี ต้องรักษาใจให้สงบเยือกเย็น มีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้มีอารมณ์ดี อารมณ์สบายตลอดเวลา
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น