บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 57
บทความให้กำลังใจ ไม่ว่าจะเป็นข้อความเพลงให้กำลังใจ กลอนเพลงให้กำลังใจ เพลงให้กำลังใจ หรือจะเป็นคำคมกำลังใจ เพื่อให้ทุกคนได้มีกำลังใจที่สูงขึ้นในยามที่อาจท้อแท้ไปบ้าง
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 56
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 55
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓)
ผู้เขียนและคณะทีมงานของสถาบันฯมีความปลื้มปีติที่ได้แสดงความกตัญญูตอบแทนและประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณ-พระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย) ที่เป็นองค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยซึ่งท่านมีมโนปณิธานมาเป็นเวลากว่า ๓๕ ปีว่าน่าจะมีใครสักคนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรทำการค้นคว้าหาหลักฐานคำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรื่องธรรมกายเพื่อทำความจริงให้ปรากฏ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
ราชองครักษ์ชาตินักรบ ตอนที่ 16 (ตอนจบ)
ย้อนกลับไปในพุทธันดรที่ผ่านมา...ตัวลูกก็ได้เกิดเป็น “กุลบุตรรูปงาม นามไพเราะ” อยู่ในตระกูลของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวช โดยตัวลูกจะเป็น...
วิบากกรรม "คนหาปลา" ตอนจบ
มื่อโยมพ่อของลูกได้ลืมตาขึ้นมา แล้วพบว่าตัวท่านเองอยู่ท่ามกลางวิมานไม้สีทองแล้ว ตัวท่านก็เกิดความรู้สึกที่อะเลิร์ตเต้...ตื่นเต้นดีใจอย่างสุดๆ แล้วตัวท่านก็ไม่รอช้า...ได้รีบก้มลงกราบพระธรรมกายด้วยความเคารพนอบน้อมในทันที
Case Study โรคมะเร็งลำไส้ (อุบาสกปองสิชฌ์) ตอนที่ 1
คำถามข้อที่ 1. น้องชายของลูกตายแล้วไปไหน เขามีความเป็นอยู่ในปรโลกเป็นอย่างไร และเขามีข้อความอะไรฝากมาถึงคนในครอบครัวบ้างไหมครับ
Case Study โรคมะเร็งลำไส้ (อุบาสกปองสิชฌ์) ตอนที่ 2 (ตอนจบ)
สำหรับเรื่องราวการสร้างบารมีของน้องชายของลูก ในพุทธันดรที่ผ่านมานั้น ตัวเขาก็ได้เกิดมาสร้างบารมีร่วมกับมหาปูชนียาจารย์และหมู่คณะด้วยเหมือนกัน เรื่องก็มีอยู่ว่า...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว