วัดในสมัยพุทธกาลมีเมรุเผาศพหรือไม่
ในประเทศอินเดียเรื่องของเมรุเผาศพ ไม่ได้มีอยู่ในวัด ไม่ว่าในสมัยพุทธกาล หรือสมัยปัจจุบัน แม้ในเมืองไทยเรา แต่ก่อนนี้เขาก็ไม่ได้มีเมรุในวัด เขาเผากันกลางทุ่ง
ธุดงค์ธรรมชัยผ่านไปแล้ว 2 สัปดาห์ ยังคงมุ่งมั่นเดินทำสมาธิภาวนา เพื่อปัดเป่าภัยพิบัติให้แผ่นดิน
เมื่อถึงจุดพักแต่ละวัดสาธุชน ชาวบ้าน นักเรียน อบต. ต่างๆ ได้มาช่วยกัน ล้างเท้าพระธุดงค์ถวายภัตตาหาร น้ำปานะ อุปัฏฐากพระ รวมทั้งสวดมนต์ทำวัตรเช้า-วัตรเย็นนั่งสมาธิ ฟังธรรม
กรรมของการรังแกสัตว์
สตรี บุรุษ คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง ใครทำกรรมใดไว้ ดีหรือชั่วก็ตาม จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
ปฐมเริ่มการเดินธุดงค์ธรรมชัย สถาปนาเส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ตอนที่ 2
สำหรับเส้นทางในครั้งนี้ เป็นเส้นทางมหัศจรรย์ ที่มีกลีบกุหลาบปูลาดให้พระธุดงค์เดินไปโดยตลอดทาง
ทำบาปเพราะนึกสนุก
ความชั่วไม่ทำเสียเลยประเสริฐกว่า ความชั่วที่ทำลงไป จะคอยเผาผลาญเราในภายหลัง กรรมใดที่ทำแล้วไม่เดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้นเป็นความดี ทำแล้วประเสริฐกว่า
ชีวิตมนุษย์ประเสริฐที่สุด
กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก
กรรมใดทำให้น้องสาวถูกสามียิงและต้องป่วยเป็นอัมพาตถึง ๓๐ ปี
น้องสาวมีวิบากกรรมใดกับสามี จึงต้องมาถูกสามียิง และต้องป่วยเป็นอัมพาตถึง ๓๐ ปี ทำไมญาติของฝ่ายสามีจึงไม่เข้าใจความจริง ทำอย่างไรน้องสาวจึงจะพ้นจากผังชีวิตที่บกพร่องนี้
อานิสงส์สร้างมณฑปเป็นพุทธบูชา
พระศาสดาได้เสด็จไปที่มณฑปนั้น ประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว้ดีแล้ว กุลธิดาได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า อังคาสด้วยของเคี้ยวของบริโภคอย่างประณีต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุโมทนาแก่เธอ
อานิสงส์ให้อาหารปลา
บุคคลให้ทานในสัตว์เดียรัจฉาน พึงหวังผลทักษิณาได้ร้อยเท่า ให้ทานในปุถุชนผู้ทุศีล พึงหวังผลทักษิณาได้พันเท่า ให้ทานในปุถุชนผู้มีศีล พึงหวังผลทักษิณาได้แสนเท่า ให้ทานในบุคคลภายนอกผู้ปราศจากความกำหนัดในกามพึงหวังผลทักษิณาได้แสนโกฏิเท่า ให้ทานในท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำโสดาปัตติผลให้แจ้ง พึงหวังผลทักษิณาจนนับไม่ได้จนประมาณไม่ได้ จะป่วยกล่าวไปไยในพระโสดาบัน ในท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำสกทาคามิผลให้แจ้ง ในพระสกทาคามี ในท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำอนาคามิผลให้แจ้ง ในพระอนาคามี ในท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำอรหัตผลให้แจ้ง ในสาวกของตถาคตผู้เป็นพระอรหันต์ ในพระปัจเจกสัมพุทธ และในตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ธรรมธาตุกับธรรมรังสีมีความหมายอย่างไร
ธาตุเป็นที่ตั้งแห่งธรรม ถ้าไม่มีธาตุ ธรรมก็ตั้งอยู่ไม่ได้ ถ้าไม่มีธรรม ธาตุอยู่ไม่ได้เหมือนกัน ธาตุและธรรมอาศัยกันและกัน ตัวเราเองก็เป็นธาตุที่ตั้งแห่งธรรม ถ้าธาตุของเราถูกธรรมกลั่นมากๆ ธาตุของเราก็บริสุทธิ์ เรียกว่า “ธรรมธาตุ”