ป.ธ.๙ ราชบัณฑิตแจง ธุดงค์ธรรมชัยกลางกรุงไม่ผิดพระธรรมวินัย
โอวาทพระธรรมกิตติวงศ์ ณ สนามเทพหัสดิน เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2555 ในโอกาสธุดงค์ธรรมชัย อัญเชิญรูปหล่อทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ตั้งแต่ วันที่ 2-6 เมษายน พ.ศ.2555
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1
สาเหตุของการสังคายนาครั้งที่ 1 และผลจาการสังคายนา โดยสรุป
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์กับงานด้านการปกครอง
งานด้านการปกครอง หมายถึง ศาสนากิจด้วนการสอดส่องดูแล รักษา ความเรียบร้อยดีงาม เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดหรือในปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ คำสั่ง กฎมหาเถรสมาคม หรือวัฒนาธรรมอันดีงามของสังคม
การปกครองของคณะสงฆ์หลังสมัยพุทธกาล
คำถาม : การปกครองคณะสงฆ์หลังสมัยพุทธกาลกับพระธรรมวินัย แตกต่างกันอย่างไรครับ ผมได้พยายามหาข้อแตกต่างแล้ว แต่ก็ยังไม่กระจ่างครับ?
รัตนชาติและพระรัตนตรัย
ดูก่อนปหาราทะ มหาสมุทรมีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะในมหาสมุทรนั้น คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต ฉันใดก็ฉันนั้น ดูก่อนปหาราทะ ธรรมวินัยนี้ก็มีรัตนะมากมายหลายชนิดเหมือนกัน รัตนะในธรรมวินัย คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะมากมายหลายชนิดนี้ เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นแล้ว จึงอภิรมย์ยินดียิ่งในศาสนานี้อยู่
จดจำ จรดจาร
บัณฑิตทางพระพุทธศาสนา หมายถึง บุคคลผู้ทรงความรู้ มีจิตใจที่งดงาม และมีการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง การเป็นบัณฑิตที่แท้ได้ต้องมีธรรมะเป็นพื้นฐาน โดยอาศัยแนวทางจากหลักธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรมวินัยที่พระภิกษุสงฆ์และพุทธศาสนิกชนยึดถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน
มหาปวารณา
วันมหาปวารณา คือ วันที่พระภิกษุทุกรูป จะต้องมาปวารณาซึ่งกันและกันว่า ถ้าใครเห็น ได้ยิน หรือสงสัยว่า ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งประพฤติไม่ถูกต้องตามพระธรรมวินัยนี้ ก็จะตักเตือนเป็นกัลยาณมิตรให้ซึ่งกันและกัน เหมือนกับไปช่วยชี้ขุมทรัพย์ให้ เพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง
อยู่ก็รัก จากก็คิดถึง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาราณียธรรม ๖ ประการนี้ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เข้าไปตั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง แบ่งปันลาภทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยธรรมได้มาโดยธรรม แม้โดยที่สุดบิณฑบาต ย่อมบริโภคร่วมกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายผู้มีศีล ภิกษุเป็นผู้มีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันวิญญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง อนึ่ง ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นของประเสริฐ เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ ย่อมนำออกเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้กระทำทิฏฐิอันนั้น มีอยู่ ภิกษุเป็นผู้ถึงความเสมอกันด้วยทิฏฐิในทิฏฐิเห็นปานนั้นกับเพื่อนสหพรหมจารีทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่รัก เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่เคารพ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคี เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เส้นทางจอมปราชญ์ (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผู้ที่ชักชวนเข้าในธรรมวินัยที่กล่าวไว้ดีแล้ว ๑ ผู้ที่ถูกชักชวนแล้วปฏิบัติเพื่อความเป็นอย่างนั้น ๑ คนทั้งหมดนั้น ย่อมประสบบุญเป็นอันมาก ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะธรรมนั้น ท่านกล่าวไว้ดีแล้ว