แนะอบรมพ่อแม่ แก้ปัญหาเด็ก
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวถึงปัญหาเด็กตีกันว่า เด็กกลุ่มเสี่ยงรวมถึงเด็กที่สร้างปัญหาจะมาจากสิ่งแวดล้อมที่มีปัญหา
ยอดกัลยาณมิตรของโลก
บุคคลผู้มีปัญญาไม่พึงคบพวกปาปมิตร ไม่พึงคบพวกบุรุษต่ำทราม พึงคบกัลยาณมิตร พึงคบบุรุษสูงสุด
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 4 ชนะสัจจกนิครนถ์)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรากฏขึ้นแห่งบุคคลเอก เป็นความปรากฏแห่งจักษุใหญ่ แห่งแสงสว่างใหญ่ แห่งโอภาสใหญ่ แห่งอนุตตริยะ เป็นการกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ๔ เป็นการแทงตลอดธาตุธรรม
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
ทศชาติชาดก เรื่อง ภูริทัต ตอนที่ 2 ต้นเหตุแห่งเภทภัย
และความดำรินี้เอง คือ จุดเริ่มต้นของความหายนะที่กำลังจะเกิดกับพระราชโอรสในอนาคตอันใกล้ นับแต่วันนั้น เมื่อพระราชาทรงสดับถ้อยคำสรรเสริญเยินยอของพระราชโอรสครั้งใด ก็คล้ายดั่งคมมีดที่กรีดใจทีละน้อยทีละน้อย ความริษยาก็เริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น
อาการปลื้มแบบต่อเนื่อง
เมื่อล็อกบุญมาถึง พุทธบุตรท่านก็ได้ใช้โอกาสอันดีนี้ ทักทายกับเด็กนักเรียน เริ่มต้นด้วยคำถามว่า “จำหลวงพี่ได้บ่” กว่าครึ่งยกมือแล้วบอกว่าจำได้ เหตุก็เพราะว่า นักเรียนส่วนใหญ่มาตักบาตรทุกเช้า และพระเราก็ออกบิณฑบาตทุกเช้า ส่วนคนที่ไม่ยก ก็จะโดนเพื่อนๆ แซวว่า “โต่คือบ่ย่อมตื่นมาใส่บาตรตอนเส้าเด” แปลว่า เอ็งน่ะทำไมไม่ยอมตื่นขึ้นมาใส่บาตรตอนเช้า ทำให้บรรยากาศเช้านี้เต็มไปด้วยความสดใส
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - ความโศกสิ้นสุด เมื่อจิตหลุดพ้น
เมื่อลูกชายเติบโตวิ่งเล่นได้ พลันเกิดเหตุพลิกผันวิถีชีวิตของนางโดยสิ้นเชิง ลูกชายของนางเกิดล้มป่วยลง และตายจากไปอย่างปัจจุบันทันด่วน ทำให้นางเกิดความโศกเศร้าเสียใจ อาลัยอาวรณ์ต่อลูกน้อยเป็นอย่างมาก จนไม่เป็นอันกินอันนอน นางไม่สามารถควบคุมสติของตนได้ กลายเป็นคนเสียสติในทันที
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - พิชิตความโศกด้วยสัจจธรรม
มหาชนที่ผ่านไปผ่านมา พบเห็นดาบสินีนอนสิ้นใจ ต่างก็พากันสงสารในชะตากรรม พากันร้องไห้คร่ำครวญอยู่ที่ศาลาหลังนั้น ส่วนพระโพธิสัตว์กลับจากภิกขาจาร มาเห็นมหาชนคร่ำครวญกันอยู่ เมื่อรู้ว่าดาบสินีคู่ทุกข์คู่ยากสิ้นใจแล้ว ก็ไม่ได้แสดงอาการอะไร ยังคงทำภัตกิจตามปกติ เพราะเป็นผู้ที่มีใจมั่นคง มองเห็นความตายเป็นเรื่องธรรมดาของสัตวโลก มหาชนเห็นอย่างนั้น จึงพากันถามด้วยความสงสัยว่า "ท่านดาบสเป็นอะไรกับนาง"
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - กุศโลบายให้พ้นโลก
โธตกมาณพทูลว่า "ถ้าพระองค์จะทรงพระกรุณา ก็ควรแสดงธรรมอันทำให้กิเลสของข้าพระพุทธเจ้าดับไป และแสดงธรรมที่ควรจะรู้ ขอได้โปรดสั่งสอนข้าพระองค์ให้เป็นคนโปร่งเบาใจ ไม่ขัดข้องดุจสภาวะที่กิเลสดับไปแล้ว ไม่อาศัยสิ่งใดสิ่งหนึ่งเที่ยวอยู่ในโลกนี้เถิด พระพุทธเจ้าข้า"
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - คำถามนำไปสู่ความหลุดพ้น
เหมือนดังเรื่องของเมตไตยยะ ซึ่งออกบวชเป็นชฎิล คือ นักบวชประเภทหนึ่งที่มีในสมัยนั้น ปรารถนาจะหลุดพ้นจากทุกข์ เมื่ออินทรีย์แก่กล้า บุญบันดาลให้มาพบแสงสว่าง ท่านได้พบกับยอดกัลยาณมิตร คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีโอกาสได้ทูลถามปัญหา และตั้งปัญหาถามได้ลึกซึ้ง เป็นปัญหาที่น่ารู้น่าศึกษาทั้งสิ้น