ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 6
ธรรมดา การที่มนุษย์จะไปสู่สวรรค์ได้นั้น ก็ต่อเมื่อหลังจากที่ตายจากโลกนี้ไปแล้วเท่านั้น จึงจะไปสู่เทวโลกด้วยกายทิพย์ แต่ก็ต้องเป็นบุคคลที่ได้สั่งสมบุญเอาไว้เป็นอย่างดีแล้ว
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 5
พระราชาทรงเห็นความตั้งใจจริงของท่านปุโรหิต จึงทรงอนุญาต และตรัสอนุโมทนาว่า “ถ้าเช่นนั้น ท่านอาจารย์ก็จงบวชเถิด และเมื่อท่านอาจารย์ได้บวชแล้ว ก็จงมาเยี่ยมเราบ้างนะ”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 20
“ใครหนอเป็นผู้แนะนำธรรมะสั่งสอนพระองค์ ถ้อยคำอันสะอาดนี้ เป็นถ้อยคำของใคร ดูก่อนพระองค์ผู้เป็นจอมทัพ เพราะข้าพระองค์มิเคยเห็นพระองค์ได้ตรัสกับสมณะผู้มีวัตรปฏิบัติก้าวล่วง ทุกข์ ซึ่งแนะนำหนทางสู่ความหลุดพ้นแก่พระองค์เลย”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 21
ประโยชน์อะไรกับการมีบุตรและธิดาซึ่งวันหนึ่งก็ต้องพลัดพรากจากกันในที่สุด อาตมภาพพ้นแล้วจากพันธะซึ่งเป็นภาระผูกพัน ย่อมทราบดีว่า เรามีความแก่ชราเป็นธรรมดา และมีความตายรอคอยอยู่เบื้องหน้า
แม่เป็นผู้นำบุญ จังหวัดลำพูน
เรื่องราวชีวิตของจิตแพทย์ท่านหนึ่ง...เขาได้พบว่า ส่วนใหญ่คนที่มีปัญหาทางสุขภาพจิต มักเกิดจากการที่ตัวผู้ป่วยไม่สามารถควบคุม หรือทำความเข้าใจปัญหาต่างๆที่เกิดกับตัวเองได้ว่าเกิดจากอะไร ทำไมตัวเองถึงต้องประสบเคราะห์ร้ายกว่าคนอื่น และบางทีมักคิดว่าตัวเองช่างเป็นคนที่โชคร้ายที่สุดในโลก เขาจึงได้นำหลักธรรมคำสอน เกี่ยวกับกฎแห่งกรรมที่ได้จากโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา ไปถ่ายทอดให้แก่ผู้ป่วยของเขา บ้าง ตอบคำถามข้อข้องใจของผู้ป่วย บ้าง และได้ผลลัพธ์เป็นอย่างดี...
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
รัตนตรัยที่พึ่งแหล่งสุดท้าย
พรหมจรรย์อันเรากล่าวดีแล้ว ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นเอง เป็นธรรมอันไม่จำกัดด้วยกาล ผู้ใดศึกษาโดยไม่ประมาท ผู้นั้นย่อมไม่เป็นโมฆ
พระวนวัจฉะผู้อยู่ในป่า
ความเสวยอารมณ์เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เช่นเป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ดี เมื่อเบื่อหน่ายในความเสวยอารมณ์นั้น ย่อมคลายความกำหนัด เมื่อคลายความกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พระอริยสาวกย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจอื่นที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีกต่อไป
อยู่ก็รัก จากก็คิดถึง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาราณียธรรม ๖ ประการนี้ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เข้าไปตั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง แบ่งปันลาภทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยธรรมได้มาโดยธรรม แม้โดยที่สุดบิณฑบาต ย่อมบริโภคร่วมกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายผู้มีศีล ภิกษุเป็นผู้มีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันวิญญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง อนึ่ง ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นของประเสริฐ เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ ย่อมนำออกเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้กระทำทิฏฐิอันนั้น มีอยู่ ภิกษุเป็นผู้ถึงความเสมอกันด้วยทิฏฐิในทิฏฐิเห็นปานนั้นกับเพื่อนสหพรหมจารีทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่รัก เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่เคารพ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคี เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน