พระพากุลเถระ ตอน สร้างมหากุศลใหญ่ในสมัยพระกัสสปพุทธเจ้า
ครั้นในยุคของพระกัสสปพุทธเจ้า พระพากุลเถระได้เกิดเป็นฆราวาสผู้ครองเรือน อาศัยอยู่ในกรุงพาราณสี
วิบากกรรมที่ทำให้บรรลุธรรมช้า
เมื่อศึกษาพุทธประวัติอย่างละเอียดแล้วจะพบว่าแม้แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ไม่ทรงสามารถหลีกเลี่ยงกฎแห่งกรรมพ้น ดังนั้นเราไม่ควรสร้างกรรมแม้เพียงเล็กน้อยเพราะแม้จะทำไปด้วยความไม่รู้ ก็ต้องได้รับผลของกรรมนั้น
อานิสงส์การบูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
“ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้ ๘ ดอก ขึ้นบูชาพระสถูปของพระกัสสปพุทธเจ้าด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้”
ภัทรกัป
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระวิปัสสีพุทธเจ้า ผู้มีพระจักษุ มีพระสิริ พระสิขีพุทธเจ้า ผู้ทรงอนุเคราะห์แก่สัตว์ทั่วหน้า ขอนอบน้อมแด่พระเวสสภูพุทธเจ้า ผู้ทรงชำระกิเลส มีความเพียร พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้ทรงย่ำยีมารและเสนามาร พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผู้มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ พระกัสสปพุทธเจ้า ผู้พ้นพิเศษแล้วในธรรมทั้งปวง และขอนอบน้อมแด่พระอังคีรสพุทธเจ้า ผู้เป็นศากยบุตร
อานิสงส์การบูชาด้วยดอกมะลิ
มนุษย์เท่านั้นที่เกิดมาเพื่อสั่งสมบุญสัตว์ที่เหลือส่วนใหญ่จะเกิดมาเพื่อเสวยผลกรรมที่เคยทำไว้ในอดีต ถึงจะเป็นสัตว์นรกเปรต อสุรกาย หรือสัตว์เดรัจฉาน ก็ต้องชดใช้ ผลกรรมที่ทำไว้
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อานิสงส์ทำบุญทอดกฐิน
นายติณบาลทำงานให้เศรษฐีด้วยความขยันขันแข็ง วันหนึ่ง บุญเก่ามาตักเตือน ทำให้คิดได้ว่า "ตัวเรายากจนเช่นนี้ ก็เพราะไม่เคยทำบุญไว้ในชาติปางก่อน ชาตินี้จึงต้องมาเป็น คนรับใช้ แม้สมบัติติดตัวสักนิดก็ไม่มี ทั้งยังไร้ญาติขาดมิตรที่จะคอยช่วยเหลือ"
กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยาก ๔ ประการ คือ “การได้เกิดมาเป็นมนุษย์ก็นับว่ายาก การดำรงชีวิตอยู่ของเหล่าสัตว์ก็นับว่ายาก การที่จะได้ฟังสัทธรรมก็นับว่ายาก การที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายจะเสด็จอุบัติขึ้นก็ยิ่งยาก”
พระพากุลเถระ เอตทัคคมหาสาวกผู้มีอาพาธน้อย
เรียบเรียงจาก : อรรถกถา ขุททกนิกาย เถรคาถา ติกนิบาต : อรรถกถา อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอตทัคคบาลี
อานิสงส์ถวายเภสัชและรักษาพระภิกษุอาพาธ
ความสุขขั้นพื้นฐานของทุกคน คือ อยากมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและอายุยืน ไม่ต้อง รับประทานยารักษาโรค ไม่ต้องเสียเวลาไปหาหมอ สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ใคร ๆ ล้วนปรารถนากันทั้งสิ้น
ความแตกต่างของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์
พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ทรงมีความแตกต่างกันบางประการ เช่น พระชนมายุ พระสรีระ เวลาบำเพ็ญทุกกิริยาในพระชาติสุดท้าย ความต่างแห่งพุทธรังสี ความต่างแห่งตระกูล เป็นต้น