มหากัณหชาดก-ชาดกว่าด้วยคราวที่สุนัขดำกินคน
ตั้งแต่พระพุทธศาสดาทรงตรัสรู้บรรลุสัมโพธิญาณ แสดงพระธัมมจักกัปวัตนสูตรแก่พระปัญจวัคคีย์ แสดงอาทิตตปริยายสูตรโปรดชฏิล 3 พี่น้อง โปรดองคุลิมาล คนบาปจนตั้งอยู่ในอรหัตผล เสด็จโปรดเหล่าเทวดา 80 โกฏิจนบรรลุธรรม
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๑)
การบังเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย นำมาซึ่งสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย เมื่อเราเข้าถึงและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระรัตนตรัย ความ
คุณลักษณะของพระโพธิสัตว์
พลังใจของมนุษย์เริ่มต้นจากแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ และความใฝ่ฝันอันสูงส่ง จึงทำให้อยากลงมือทำ เพื่อให้ภาพที่มีอยู่ในใจนั้นเป็นจริงขึ้นมา แม้สิ่งนั้นจะยากลำบากเพียงใด แต่ด้วยความเพียรพยายามครั้งแล้วครั้งเล่า
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (1)
ดูก่อนเจ้าลิจฉวี ความปรากฏขึ้นแห่งรัตนะ ๕ หาได้ยากในโลก รัตนะ ๕ คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑ บุคคลผู้แสดงธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ๑ บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้วอันผู้อื่นแสดงแล้ว ๑ บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้วอันผู้อื่นแสดงแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ กตัญญูกตเวทีบุคคล ๑ ดูก่อนเจ้าลิจฉวีทั้งหลาย ความปรากฏแห่งรัตนะ ๕ ประการนี้แล หาได้ยากในโลก
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - แผ่นดินไหวด้วยมหาทานบารมี
แผ่นดินอันใหญ่หนักด้วยของหนัก คือ คุณความดีของบุคคล จนไม่อาจรับไว้ได้ จึงสะเทือนสะท้านหวั่นไหว มหาบพิตร เกวียนที่บรรทุกหนักเกินไป จนดุมเกวียน กำเกวียน กงเกวียน รับไม่ไหว เพลาเกวียนก็หัก ฉันใด แผ่นดินใหญ่ก็หนักด้วยคุณความดีของบุคคล จนไม่อาจรับไว้ได้ จึงไหว ฉันนั้น
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - พระิอินทร์มาเตือนสติ
ู้ประพฤติผิดศีลผิดธรรม ไม่เลี้ยงดูบิดามารดา เป็นคนอกตัญญู ดูหมิ่นผู้มีพระคุณ คนเหล่านี้แหละที่เป็นศัตรูของเรา สุนัขดำจะเคี้ยวกินผู้ที่ไม่มีจิตเมตตา ชอบรังแกเบียดเบียนผู้อื่น ไม่ประกอบ สัมมาอาชีวะ ประพฤติผิดในกาม แสวงหาความสุขบนความทุกข์ของผู้อื่น หมกมุ่นอยู่ในอบายมุข โดยไม่ทำความดีอะไร
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ยิ่งให้ยิ่งได้เพิ่ม
สิริ คือ ที่มานอนแห่งโภคทรัพย์สมบัติ ใครมีสิริอยู่ในตัว ย่อมจะเป็นที่มานอนแห่งโภคทรัพย์สมบัติทุกอย่าง เป็นผู้ที่มีเสน่ห์ดึงดูดตาดึงดูดใจของผู้ได้พบเห็น ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะเกิดจากการประกอบเหตุไว้ดี คือ เป็นผู้ที่สั่งสมบุญกุศลไว้มาก เป็นผู้ที่รักในการฝึกฝนอบรมตนเองอยู่เป็นนิตย์ ด้วยการหมั่นรักษาศีล ชำระกาย วาจา ใจให้บริสุทธิ์
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๖ )
พระราชาสดับเช่นนั้น ทรงปฏิเสธทันทีว่า "ลูก เอาทรัพย์ไปใช้เช่นนี้ไม่เกิดประโยชน์เลย เลิกให้ทานเถิดลูก ลูกควรจะนำทรัพย์ที่พ่อจะให้นี้ ไปใช้จ่ายเที่ยวเล่นสนุกสนานให้เต็มที่ ไม่ต้องไปคิดถึงใคร และภพชาติต่อไปก็อย่าไปกังวล ลูกจงเก็บเกี่ยวความสุขในชาตินี้ให้เต็มที่เถิด"