หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒)
ขอนำเสนอเนื้อหาสาระการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลในชมพูทวีปซึ่งการเผยแผ่ถูกจำกัดด้วยภูมิประเทศและความสามารถในการเดินทาง เรื่อยมาถึงยุคประวัติศาสตร์ที่มากด้วยเรื่องราวความเป็นไปในแต่ละท้องถิ่นของดินแดนต่าง ๆ
กองทุน "มหาธรรมทาน ถวายสื่อธรรมะ 30,000 วัด 10,000 โรงเรียน"
ขอเรียนเชิญสาธุชนทุกท่านร่วม พิธีถวายกองทุน “มหาธรรมทาน 30,000 วัด 10,000 โรงเรียน” เพื่อจัดส่งสื่อธรรมะ ถวายแด่พระสังฆาธิการ 30,000 วัด และโรงเรียนฟื้นฟูศีลธรรมโลก 10,000 กว่าแห่งทั่วประเทศ เพื่อความเจริญรุ่งเรืองของพระศาสนา ให้โลกสว่างไสวด้วยแสงแห่งธรรม นำความสงบสุข ร่มเย็น หวนคืน ดุจดั่งสมัยพุทธกาล ในวันเสาร์ที่ 4 กรกฎาคม 2558 ณ หอฉันฯ คุณยายอาจารย์ฯ วัดพระธรรมกาย
เวียนเทียนวันวิสาขบูชา
เวียนเทียนวันวิสาขบูชา สมัยพุทธกาลมีการเวียนเทียนหรือไม่? ทำไมต้องมีการเวียนเทียน? ปัจจุบันประเทศอินเดียยังมีการเวียนเทียนถวายเป็นพุทธบูชาไหม? พิธีกรรมวันวิสาขบูชาของอินเดียกับไทยเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?.....
สามเณรปิโลติกะ อดีตเด็กขอทาน
ในสมัยพุทธกาลมีเด็กขอทานคนหนึ่งชื่อว่า ปิโลติกะ นุ่งผ้าเก่าๆขาดวิ่น ถือชามกระเบื้องเดินขอทานอยู่ไปมา พระอานนท์เห็นเข้าจึงเกิดความเมตตาชวนให้เด็กขอทานได้บวชในพระพุทธศาสนา สามเณรจึงได้บวชกับพระอานนท์นับแต่บัดนั้น
V-Star ศรีสะเกษ พลิกชีวิต…สู่สามเณรล้าน
วันมาฆบูชา 4 มีนาคม พ.ศ.2558 ในปีนี้จะเป็นวันครบรอบ 45 ปี ของการสร้างวัดพระธรรมกาย 45 ปี ของการสร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระแท้ สร้างคนให้เป็นคนดีที่โลกต้องการ กลับคืนสู่สังคม อย่างไม่เคยย่อท้อต่ออุปสรรค มุ่งมั่นทำงานฟื้นฟูศีลธรรมโลก ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ฟื้นฟูวัดร้าง สร้างวัดรุ่ง ให้กลับมารุ่งเรืองดั่งย้อนยุคพุทธกาล และนี่คือวัดพระธรรมกาย
คุณเคยได้รับพรจากเทวดาไหม
ครั้งหนี่ง ในสมัยพุทธกาล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสแก่ภิกษุทั้งหลายว่า เมื่อมีเทพจะต้องจุติ (ตาย) เหล่าทวยเทพทั้งหลาย จะพากันมาอวยพรให้ 3 ประการ คือ...
พัพพุชาดก ตอนที่ 1 ชาดกว่าด้วยวิธีให้แมวตาย
พัพพุชาดก..ในพุทธกาลสมัย องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารในนครสาวัตถี เผยแพร่คำสอนของพระพุทธศาสนากว้างไกลไปทั่วแคว้นพาราณสี ในกาลนั้น ได้มีอุบาสิกาผู้หนึ่งมีนามว่า กาณมาตา นางเป็นอริยสาวิกา ผู้บรรลุโสดาบัน นางอาศัยอยู่กับลูกสาวคนหนึ่ง มีชื่อว่า กาณา
ธุดงค์ธรรมชัยกับพุทธประเพณีการล้างเท้าพระ
การล้างเท้าพระ เป็นพุทธประเพณีหนึ่งที่มีมาแต่ครั้งพุทธกาล ดังเรื่องของสังขพราหมณชาดก ที่กล่าว ถึงอดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ชื่อสังขะ ในชาตินั้น สังขพราหมณ์ เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าเสด็จมาด้วยเท้าเปล่าเหยียบย่ำทรายที่ร้อนดังถ่านเพลิง จึงเกิดกุศลศรัทธา รีบนิมนต์ พระปัจเจกพุทธเจ้าเข้าไปที่โคนต้นไม้ แล้วล้างเท้าพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วยน้ำที่อบและกรองใสสะอาด
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
พุทธประเพณี ประเพณีของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
พุทธประเพณี คือ ประเพณีของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นระเบียบแบบแผนและเอกลักษณ์ของชาวพุทธ ที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล พุทธประเพณีที่เกิดขึ้นในสมัยพุทธกาลนั้นมีหลายอย่าง เช่น พุทธประเพณีการบวช พุทธประเพณีการตักบาตร พุทธประเพณีการถวายสังฆทาน พุทธประเพณีการปฏิบัติธุดงควัตร เป็นต้น