มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - อย่าลบหลู่คุณท่าน
เขาคิดว่า ถ้าเราบอกว่าเรียนมาจากคนจัณฑาล ก็จะได้รับความอับอาย และเสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง คนอื่นจะไม่นับหน้าถือตา และยังจะถูกมหาชนดูถูกดูหมิ่นเอาอีกด้วย จึงกราบทูลว่าเรียนมาจากสำนักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์ พร้อมๆกับที่เขากล่าวมุสา มนต์ก็เสื่อมในทันทีโดยที่เขาไม่รู้ตัว
ตักบาตรพระ จังหวัดชัยนาท
ในตอนเช้าของวันจัดงานตักบาตร ปรากฏมีมหาชนหลั่งไหลมาร่วมงานอย่างเกินความคาดหมาย จนแน่นบริเวณถนนหน้าเขื่อนเรียงหิน ขณะที่พุทธบุตรกว่า 1,000รูป นั่งเรียงรายเต็มบริเวณลานอเนกประสงค์ของเขื่อนเรียงหิน จนประมาณไม่ถูกว่าพระมีจำนวนเท่าไร ซึ่งได้สร้างความปลาบปลื้มแบบสะท้อนไปสะท้อนมาระหว่างพระกับโยม กล่าวคือ พอพระเห็นโยมมามากมายแน่นขนัด พระก็ปลื้ม ส่วนโยมเห็นพระนั่งแน่นเต็มไปหมด โยมก็ปลื้ม
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ควรคุ้มครองอินทรีย์
วันหนึ่งท่าน ละเลยการคุ้มครองอินทรีย์ ได้ยืนมองดูมหาชน และเหลือบไปเห็นนางวรรณทาสีคนหนึ่งที่มีรูปร่างงดงาม จึงมีจิตปฏิพัทธ์ เมื่อเกิดความกำหนัดยินดี ฌานก็เสื่อม กินไม่ได้นอนไม่หลับ ทนทุกข์ทรมานอยู่ถึง ๗ วัน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 27
ท่ามกลางมหาชนที่มารอรับฟังกันอย่างคับคั่ง “เรา..พระเจ้าวิเทหราช ปรารถนาจะเสวยข้าวเปรี้ยวรสเลิศ ที่หุงด้วยวิธีพิเศษ คือถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ อันได้แก่๑.ไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ๒.ไม่ให้หุงด้วยน้ำปกติ ๓.ไม่ให้หุงด้วยหม้อข้าว ๔.ไม่ให้หุงด้วยเตาหุงข้าว ๕.ไม่ให้หุงด้วยไฟปกติ ๖.ไม่ให้หุงด้วยฟืน ๗.ไม่ให้หญิงหรือชายเป็นผู้ยกมา ๘.ไม่ให้นำมาตามทางเดิน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 21
ไม้ท่อนนั้นแม้มองด้วยสายตาจะเห็นว่าเท่ากันทั้งสอง ด้าน แต่เมื่อได้วางลงไปในน้ำ แทนจะจมลงไปในน้ำเท่ากัน กลับกลายเป็นว่า ข้างหนึ่งกลับจมลงไปมากกว่าอีกข้างหนึ่ง เมื่อผลปรากฏเป็นเช่นนี้ มโหสถกุมารจึงชี้บอกมหาชนในที่นั้น ให้สังเกตดูลักษณะการจมลงของท่อนไม้ว่า
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 17
ท้าวสักกเทวราชไม่ตรัสตอบสิ่งใด เมื่อความจริงได้ปรากฏ และบัดนี้มหาชนก็ได้ทราบแล้วว่าพระองค์เป็นใคร จึงทรงกลับร่างเป็นเทพราชา ผู้สง่างามด้วยทิพย์อาภรณ์มีรัศมีเฉิดฉาย ทรงเหาะทะยานขึ้นสู่เบื้องบนแล้วไปปรากฏพระองค์อยู่กลางนภากาศ ตรัสชื่นชมปัญญาบารมีของมโหสถบัณฑิตด้วยพระสุรเสียงก้องกังวาน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 16
มโหสถพิจารณาอยู่ว่า “...ชายเข็ญใจผู้นี้เป็นใครกันแน่ ตาก็ไม่กระพริบ แววตาช่างดูมีอำนาจ ซ้ำยังองอาจ มิได้ครั่นคร้ามต่อสิ่งใด ทั้งที่มายืนอยู่ท่ามกลางมหาชนมากมายถึงเพียงนี้”ทันใดนั้นความคิดหนึ่งก็แวบขึ้นมา “..หรือว่าชายผู้นี้ จะเป็นท้าวสักกเทวราช จอมเทพแห่งดาวดึงส์พิภพจำแลงมา...” แล้วมโหสถจะตัดสินคดีความอย่างไรนั้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 9
มโหสถบัณฑิตได้ฟังคำให้การของคนทั้งสองแล้ว ปรารถนาจะทำความจริงให้ประจักษ์ท่ามกลางมหาชน จึงให้คนใช้นำถาดพร้อมใบประยงค์มาด้วยกำหนึ่ง สั่งให้ตำในครกจนแหลก ขยำด้วยน้ำ แล้วกรอกน้ำนั้นใส่ปากโค
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 5
ในที่สุดศาลาหลังนี้จึงปรากฏว่าสง่างามล้ำสมัย เปรียบได้กับสุธรรมาเทวสภาบนสรวงสวรรค์ ได้ชะลอมาสู่ภพมนุษย์ ด้วยเหตุที่มโหสถบัณฑิตได้จัดการทุกสิ่ง โดยมุ่งเพิ่มพูนทานบารมีของตนให้ยิ่งๆขึ้นไป ศาลาหลังนี้จึงได้ก่อประโยชน์แก่มหาชนเป็นอันมาก ในกาลนั้น มโหสถบัณฑิตได้รับความเคารพ นบนอบ บูชา ได้เป็นเสมือนกาลสมัยที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์น้อยๆ เสด็จอุบัติขึ้นในโลกทีเดียว