วัดพระธรรมกายซีแอตเติล จัดบุญเนื่องในวันสงกรานต์
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดบุญเนื่องในเทศกาลวันสงกรานต์
ใจหมองอยากทำใจใส
คำถาม : ตอนนี้ใจหมองมาก อยากทราบวิธีปรับใจตัวเองให้ใสๆ ไม่คิดถึงเรื่องเก่าๆ จะต้องทำอย่างไรบ้างคะ
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
มิตรแท้ มิตรเทียม
เพื่อนหรือมิตรมีกี่ประเภท มีลักษณะอย่างไรบ้าง ? แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นมิตรแท้มิตรเทียม ? วิธีรักษามิตรแท้ให้อยู่กับเรานาน ๆ ต้องทำอย่างไร ?
อานิสงส์ร่วมสร้างมหาพุทธเจดีย์
คนไม่มีบุญจะมีศิลปะหรือไม่มีศิลปะก็ตาม จะสามารถรวบรวมทรัพย์ไว้เป็นจำนวนมาก แต่คนมีบุญเท่านั้นย่อมได้ใช้สอยทรัพย์เหล่านั้น
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ทำคุณบูชาโทษ
การบำเพ็ญประโยชน์ โดยไม่ฉลาดในประโยชน์ จะนำความสุขมาให้ไม่ได้เลย ผู้มีปัญญาทรามย่อมพร่าประโยชน์ ดุจลิงเฝ้าสวนฉะนั้น (ขุ.ชา.เอก.๒๗/๑๕)
เราควรจะเลือกทำงานด้วยทัศนคติอย่างไรที่จะส่งผลให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง
การงานใด ๆ ไม่มีคำว่าเล็กหรือใหญ่ไป เพราะทุกงานที่ทำมีผลโดยตรงต่อชีวิตของเราและส่งผลต่อผู้ที่เกี่ยวข้องเสมอ ทัศนคติที่ดีและถูกต้องในการทำงานจะนำมาซึ่งความสำเร็จในชีวิต
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนาของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียนวรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษรธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า “อักษรธรรมล้านนา”
วัดพุทธฮัมบวร์กประเทศเยอรมนีจัดพิธีบูชาข้าวพระและสรงน้ำพระเนื่องในเทศกาลสงกรานต์
วัดพุทธฮัมบวร์ก ประเทศเยอรมนี ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก