ประเพณีไหลเรือไฟ ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของการไหลเรือไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีของชาวอีสาน ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “เฮือไฟ” จัดขึ้นในช่วงเทศกาลออกพรรษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของพระเจ้า ณ ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที
วันผู้สูงอายุ 13 เมษายน ของทุกปี
วันผู้สูงอายุ ตรงกับวันที่เท่าไหร่ ผู้สูงอายุหมายถึงใคร และประวัติความเป็นมาของวันผู้สูงอายุ รวมถึงวิธีการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ หาอ่านได้ที่นี่ค่ะ
ชีลับ
หญิงสาวคนหนึ่ง มีความศรัทธาในความเชื่ออื่น แต่ด้วยความกตัญญูกตเวทีต่อมารดา ทำให้เธอมีโอกาสได้กลับมาสู่หมู่คณะอีกครั้งหนึ่ง ภายหลังจากที่ได้จากหมู่คณะไปถึง 14 ปี...เมื่อเธอได้มีโอกาสทำบุญกับหมู่คณะ เธอก็รู้สึกปลาบปลื้มในบุญ และภาคภูมิใจที่ได้กลับมาสู่หมู่คณะอีกครั้ง... ทุกวันนี้เธอได้แต่ขอให้ตัวเธอเองได้ธรรมะ ได้สร้างบารมีร่วมกับหมู่คณะด้วย และเธออยากให้น้องๆของเธอทุกคนเข้าวัด...
โครงการตักบาตรพระ 6 แห่ง ย่านธุรกิจใจกลางกรุงเทพ
การทำบุญตักบาตรต่อพระภิกษุสามเณร สาวกแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นอริยประเพณีสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลจน ถึงปัจจุบัน
กำหนดการตักบาตรพระ 30,000 รูป วงเวียนใหญ่ อาทิตย์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2555
กำหนดการตักบาตรพระ 30,000 รูป ถวายเป็นพุทธบูชา ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม วันอาทิตย์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2555 ณ วงเวียนใหญ่
โครงการตักบาตรพระ 1,000,000 รูป 77 จังหวัด ทุกวัดทั่วไทย
24 มีนาคม พ.ศ.2555 เชิญตักบาตรที่เยาวราช-เจริญกรุง : จากเหตุการณ์ความไม่สงบขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อเดือน มกราคม พ.ศ. 2547 ในพื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สหพันธ์รวมใจไทยทั้งชาติ ซึ่งประกอบด้วย สมาคม ชมรม องค์กรชาวพุทธกว่า 150 องค์กร โดยการสนับสนุนของพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิธรรมกาย
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
เวลาสวดบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวย้ำตอนท้ายว่า “พุทโธ เม นาโถ, ธัมโม เม นาโถ, สังโฆ เม นาโถ” ไม่ถือว่าเป็นการกล่าวว่าเราขอเป็นพุทธมามกะหรือคะ
ก้าวย่างแห่งความมหัศจรรย์
ทุกย่างก้าวของพุทธบุตรผู้กล้า จากศูนย์อบรมในจังหวัดขอนแก่น เป็นปรากฏการณ์บุญที่ยิ่งใหญ่พระธรรมทายาทเดินธุดงค์ ทำให้ไม่ว่าแดดจะร้อน หรือสายฝนจะกระหน่ำจนชุ่มโชก พระธุดงค์ก็บ่ยั่น ต่างมีแฮงใจ๋หลายๆ ในการช่วยกันพัฒนาวัดถึง 3 แห่ง จนสะอาดเอี่ยม
อานิสงส์รักษาศีลจนตลอดชีวิต
แม้ว่าจะต้องทำงานรับจ้างเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าเพียงใดก็ตาม ท่านจะนึกถึงศีลตนที่ได้ประคองรักษาอย่างบริสุทธิ์ผุดผ่อง จนเวลาล่วงมาถึงหนึ่งแสนปี เมื่อวาระสุดท้ายแห่งชีวิตมาถึง ท่านก็ได้ระลึกถึงศีลของตนเอง ทำให้เกิดมหาปีติว่า “ศีลที่เราสมาทาน และได้รักษาอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ แม้นอนอยู่บนเตียงคนป่วย เราก็มีใจชื่นบาน ไม่หวั่นไหวต่อมรณภัยเลย
การรักษาศีลได้บุญอย่างไรและถ้าจะรักษาศีลได้ดีต้องฝึกสติอย่างไร
เมื่อใดใจออกจากศูนย์กลางกาย แปลว่าสติหย่อนจะทำให้เผลอไปทำผิดศีลได้ ถ้าเราห้ามใจไม่ให้ทำความชั่ว นอกจากเป็นการรักษาศีลได้แล้ว ยังเป็นการฝึกสติให้อยู่ในตัวควบคู่กันไปอีกด้วย