เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร ตอนที่ 2
ศาสนา ศาสนาประจำชาติของกัมพูชาคือศาสนาพุทธ ซึ่งมีผู้สันนิษฐานว่าเปลี่ยนจากศาสนาพราหมณ์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากชาวอินเดีย ชาวกัมพูชานับถือศาสนาพุทธร้อยละ 95 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.7 ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดูร้อยละ 0.3
ทำมาค้าขาย ของประเทศกัมพูชา
ทำมาค้าขาย กัมพูชาเป็นเมืองเกษตรกรรม ประชากรราวร้อยละ 85 ประกอบอาชีพเกษตรกรและอาศัยอยู่ในชนบท อาชีพหลักชาวของชาวกัมพูชาคือเกษตรกร ประมาณร้อยละ 70 อยู่ในภาคบริการประมาณร้อยละ 17 เป็นลูกจ้างโรงงานประมาณร้อยละ 8 และแรงงานก่อสร้างประมาณร้อยละ 5 ประชากรส่วนใหญ่รายได้ไม้สูงนัก
ทำมาค้าขาย และเป็น อยู่ คือ...วิถีชาวลาว
ทำมาค้าขาย อาชีพหลักของชาวลาวคือ เกษตรกร รวมถึงประมงและป้าไม้ รองลงมาคือ งามบริการละงานอุตสาหกรรม ตามลำดับ
วัฒนธรรมและประเพณี ของชาวไทย
วัฒนธรรมและประเพณี ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงความเป็นไทยที่มีความอ่อนโยน และสร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต จนได้ศิลปะประจำชาติที่มีลักษณะและรูปแบบเฉพาะ ส่วนใหญ่จะบอกเล่าเรื่องราว สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่แบบไทยตั้งแต่ครั้งเก่าก่อน สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนา สวยงามอ่อนช้อย และมีเรื่องราวกึ่งลึกกลับมหัศจรรย์
เล่าเรื่องคุณยาย ตอน คุณยายรักษาสมบัติพระศาสนาทั้งหยาบทั้งละเอียด
หากพูดถึงการรักษาสมบัติพระศาสนาของคุณยายแล้ว ท่านเป็นที่สุดของที่สุดทั้งหยาบทั้งละเอียดเลยครับ เพราะผมจำได้แม่นว่า..ครั้งหนึ่งคุณครูไม่เล็กเคยเน้นย้ำกับผมเรื่องการเตรียมจัดงานบุญใหญ่ว่า..“พวกมึงช่วยกันดูนะ เวลาจัดงานอะไร ต้องระมัดระวัง ช่วยกันสอดส่องดูแลเรื่องความปลอดภัยให้ดี
วิสาขามหาอุบาสิกา (สร้างบุพพาราม)
นายมาลาการพึงทำพวงดอกไม้ให้มาก จากกองดอกไม้แม้ฉันใด มัจจุสัตว์ผู้มีอันจะต้องตายเป็นสภาพ ควรทำกุศลไว้ให้มากฉันนั้น
เตรียมแผ่นลาน จารพระธรรม
ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจ้ารับสั่งกับพระอานนท์พุทธอุปัฎฐากว่า ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย หลังจากเราล่วงลับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้ทรงตั้งสาวกองค์ใดให้เป็นพระศาสดาปกครองคณะสงฆ์สืบต่อจากพระองค์ แต่ทรงให้พระธรรมวินัย คือคำสั่งสอน เป็นศาสดาแทนพระองค์ต่อไปในกาลภายหน้า
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
มูลนิธิธรรมกายบริจาคเงินช่วยผู้ประสบภัยจากไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน
มูลนิธิธรรมกายและสถาบันสมาธิทางสายกลาง บริจาคเงินช่วยผู้ประสบภัยจากไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน ประเทศฟิลิปปินส์
คัมภีร์ใบลาน "ผ้าห่อถักทอด้วยศรัทธา"
หนังสือใบลานเป็นเอกสารโบราณที่ใช้จดจารคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ ความสำคัญของหนังสือใบลานในประเทศไทยมีมาพร้อม ๆ กับการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา คนไทยโบราณจึงมักเรียกหนังสือโบราณนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” คติการสร้างคัมภีร์ใบลานในหมู่พุทธศาสนิกชนนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเชื่อว่าจะได้อานิสงส์อันยิ่งใหญ่จะนับจะประมาณมิได้ ด้วยเหตุนี้จึงมีธรรมเนียมนิยมสร้างคัมภีร์ใบลานถวายไว้กับพระศาสนามากมาย