ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย
หลวงพ่อธัมมชโย มีนาม เดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม นามว่าจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
เดอะ รีเทิร์น ออฟ พีซ เอเจ้นท์
พีซ เรฟโวลูชั่น ตอน...เดอะ รีเทิร์น ออฟ พีซ เอเจ้นท์ (The Return of Peace Agent)
กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ในกาลใดแล ธรรมทั้งหลาย มาปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ ในกาลนั้น พราหมณ์ย่อมกำจัดมาร และเสนามารเสียได้ ดุจพระอาทิตย์กำจัดความมืด ส่องสว่างอยู่ในอากาศ ฉะนั้น
ปักหมุดจุดหมาย และนามนี้สำคัญไฉน ของประเทศลาว
ปักหมุดจุดหมาย พระธาตุหลวง หรือเจดีย์โลกะจุฬามณี เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติลาว ตั้งอยู่ใจกลางนครเวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2109 มีลักษณะคล้ายป้อมปราการ องค์พระธาตุสูง 45 เมตร ลักษณะคล้ายดอกบัวตูม มีพระธาตุเล็กอยู่บนฐานพระธาตุใหญ่ทั้งสี่ด้านรวม 30 องค์ และปรากฏสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธศาสนาอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นแกะสลักพญานาค หรือพระพุทธรูปปิดทองลายกลีบบัวประดับอยู่บนฐานปัทม์ และมีอนุสาวรีย์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชประดิษฐานอยู่ตรงประตูทางเข้าใหญ่
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๗)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจำแนกทานเหมือนอย่างที่เรารู้ไซร้ สัตว์ทั้งหลายยังไม่ให้แล้วจะไม่พึงบริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทินจะไม่พึงครอบงำจิตของสัตว์เหล่านั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่เพราะสัตว์ทั้งหลายไม่รู้ผลแห่งการจำแนกทานเหมือนอย่างที่เรารู้ ฉะนั้น สัตว์ทั้งหลายจึงไม่ให้ แล้วบริโภคเสียเอง อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทินจึงยังครอบงำจิตของสัตว์เหล่านั้น
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๕)
ถ้าหากว่าสรรพสัตว์พึงรู้ผลแห่งการจำแนกทาน เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ตรัสแล้ว รู้โดยวิธีที่ผลนั้น เป็นผลใหญ่ไซร้ สัตว์ทั้งหลายพึงกำจัดความตระหนี่อันเป็นมลทินเสีย มีใจผ่องใส พึงให้ทานที่ให้แล้วมีผลมาก
ถาม-ตอบ มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางพระผู้ปราบมาร
ถาม-ตอบ มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางพระผู้ปราบมาร โดย พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.9 อภิธรรมมหาบัณฑิต, พระมหาวีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโก ป.ธ.9, พระมหา ดร.สุธรรม สุรตโน ป.ธ.9, พระ ดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล
พุทธประเพณี ประเพณีของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
พุทธประเพณี คือ ประเพณีของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นระเบียบแบบแผนและเอกลักษณ์ของชาวพุทธ ที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล พุทธประเพณีที่เกิดขึ้นในสมัยพุทธกาลนั้นมีหลายอย่าง เช่น พุทธประเพณีการบวช พุทธประเพณีการตักบาตร พุทธประเพณีการถวายสังฆทาน พุทธประเพณีการปฏิบัติธุดงควัตร เป็นต้น
ง่ายกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว
เหลืออีก 5 วัน จะออกพรรษาแล้ว เรานับกันทุกวัน ตั้งแต่วันแรกเรื่อยมาเลย เหลืออีก 5 วันเท่านั้น พรรษาแห่งการบรรลุธรรม ก็จะหมดแล้ว พรรษานี้เราตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่า จะให้เป็นพรรษาแห่งการบรรลุพระธรรมกายให้ได้
วัดภาวนานาโกย่า จัดงานวันครูวิชชาธรรมกาย
วัดภาวนานาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดงานบุญวันครูวิชชาธรรมกาย โดยภายในงานมีสาธุชนมาร่วมงานบุญเป็นจำนวนมาก