อนุสติ 10 คืออะไร ?
อนุสติ อนุสติ 10 วิธีการทำสมาธิ 10 อย่างที่มีกล่าวไว้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - พิชิตความโศกด้วยสัจจธรรม
มหาชนที่ผ่านไปผ่านมา พบเห็นดาบสินีนอนสิ้นใจ ต่างก็พากันสงสารในชะตากรรม พากันร้องไห้คร่ำครวญอยู่ที่ศาลาหลังนั้น ส่วนพระโพธิสัตว์กลับจากภิกขาจาร มาเห็นมหาชนคร่ำครวญกันอยู่ เมื่อรู้ว่าดาบสินีคู่ทุกข์คู่ยากสิ้นใจแล้ว ก็ไม่ได้แสดงอาการอะไร ยังคงทำภัตกิจตามปกติ เพราะเป็นผู้ที่มีใจมั่นคง มองเห็นความตายเป็นเรื่องธรรมดาของสัตวโลก มหาชนเห็นอย่างนั้น จึงพากันถามด้วยความสงสัยว่า "ท่านดาบสเป็นอะไรกับนาง"
สุวรรณหังสชาดก ชาดกว่าด้วยความโลภ
เหล่าภิกษุณีได้นำกระเทียมภายในไร่ของอุบาสกซึ่งออกปากถวายไว้แล้ว กลับวิหารเชตวันอย่างมากมายไม่รู้จักประมาณ พฤติกรรมอันโลภมากนั้นไม่สมควรทำ เมื่อคนเฝ้าไร่พากันตำหนิเหล่าสงฆ์ในพระวิหารก็พลอยอับอายและโกรธเคืองไปด้วย
" กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิ " เพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก ประจำปีพุทธศักราช 2559
กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิเพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก
ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ก็สร้างบุญใหญ่ได้ทั่วโลก "กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิเพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก" ประจำปีพุทธศักราช 2558
ขอเชิญร่วมบุญกองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิเพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก
ผลแห่งการเข้าถึงพระรัตนตรัย
ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่งถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง ชนเหล่านั้น จักไม่ไปสู่อบายภมู้ิ ละกายมนุษย์แล้ว จักยังหมู่เทวดาให้บริบูรณ์
หนทางสู่ธรรมกาย
ดูก่อนวาเสฏฐะ คำว่า ธรรมกายก็ดี คำว่า พรหมกายก็ดี คำว่า ธรรมภูต ก็ดี หรือคำว่า พรหมภูตก็ดี เป็นชื่อของพระตถาคต
ฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ท่านทั้งหลายพึงทำความเพียรเครื่องเผากิเลส พระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอก เหล่าชนผู้ดำเนินตามแล้ว มีปกติเพ่งพินิจ ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต