จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๑)
ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ชัยชนะครั้งที่ ๓ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
การจะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมเท่านั้น จะสวดมนต์อ้อนวอนอย่างไร ย่อมไม่อาจบรรลุธรรมได้ แม้จะมีความ
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (2)
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยความอดทน ย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
ชัยชนะครั้งที่ 3 (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ได้ชัยชนะต่อช้างตัวประเสริฐ ชื่อนาฬาคีรี ซึ่งเป็นช้างตกมัน สุดแสนที่จะทารุณร้ายกาจ ด้วยนํ้าพระเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะของพระพุทธเจ้านั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 202
พระแม่เภรีคิดว่า “บัดนี้เกียรติคุณของท่านมหาบัณฑิตได้เป็นที่ประจักษ์แก่เหล่าข้าราชบริพารทั้งหลายแล้ว แต่เกียรติคุณของท่านมหาบัณฑิตจะปรากฏเพียงนี้หาควรไม่ เราจักต้องทำให้ปรากฏในท่ามกลางชาวเมืองทั้งสิ้น ให้เป็นประหนึ่งว่าประพรมน้ำมนต์รดทั่วมหาสมุทรทีเดียว”
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ตัดอาลัยไปนิพพาน
แล้วเหตุการณ์สำคัญในชีวิตนางภิกษุณีผู้เป็นมารดาก็เกิดขึ้น คือ นับตั้งแต่พระกุมารได้แยกจากนางไปถึง 12ปีนั้น นางได้แต่ร้องไห้ด้วยความคิดถึงบุตร มีความทุกข์เพราะความพลัดพราก ใบหน้าชุ่มไปด้วยน้ำตา วันหนึ่ง ขณะที่นางกำลังเดินบิณฑบาตอยู่นั้น ได้เห็นพระกุมารกัสสปะในระหว่างทางจึงดีใจร้องเรียกลูก แล้ววิ่งเข้าไปหาแต่ได้เซล้มลง
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ชนะโทสะ ด้วยอโทสะ
เมื่อธรรมเทพบุตร เห็นอธรรมเทพบุตรไม่ให้หนทางแน่แล้ว จึงกล่าวว่า ถ้า หากท่านเป็นผู้กระหายในสงคราม ชอบใจในการล้างผลาญ แม้ผู้หลักผู้ใหญ่และครูของท่านที่จะคอย ตักเตือนท่านก็ไม่มี เราธรรมเทพบุตรก็จะขอยอมเป็นผู้ให้หนทางแก่ท่านเอง เราจะไม่ขุ่นมัว แต่จะทำใจให้เปี่ยมไปด้วยความรักและปรารถนาดี
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๒)
เนื่องจากความคุ้นเคยกันมากเกินไป พระเทวีได้ประพฤติ นอกใจพระราชา โดยประพฤติมิจฉาจารกับทาสของตนเอง เมื่อพระนางทำผิดแล้ว เกรงว่าพระสวามีจะจับได้ จึงแนะนำให้ทาสปลงพระชนม์พระราชา